เครื่องวัดเสียง
เครื่องวัดเสียง, เครื่องวัดความดังเสียง ระดับเสียง ( Sound Level Meter ) เครื่องมือตรวจวัดปริมาณเสียงสะสม ( Noise Dosimeter ) เครื่อง วัดเสียง, เครื่องวัดความดังเสียง, Sound Level Meter, เครื่องวัดเสียงสะสม, เครื่องวัดระดับเสียง, Noise Dosimeter, Time averaged sound level, Sound Calibrator, เครื่องวัดเสียง, เครื่องวัดความดังเสียง, Sound Level Meter, เครื่องวัดเสียงสะสม,
ระดับความดังของเสียง เดซิเบล (dB) เสียงที่เราได้ยินทุกวันนี้ ช่วยให้เราดำเนินกิจกรรมและแสวงหาความเพลิดเพลินในชีวิต เสียงที่เกิดขึ้นก่อให้เกิดเสียงในระดับต่าง ๆ กัน อาจเป็นอันตรายต่อสุขภาพได้
เดซิเบลเอ dB(A) คือ สเกล ของ เครื่องวัด เสียง ที่ สร้าง เลียน แบบ ลักษณะ การ ทำงาน ของ หู มนุษย์ โดย จะ กรอง เอา ความ ถี่ ต่ำ และ ความ ถี่ สูง ของ เสียง ที่ เกิน กว่า มนุษย์ จะ ได้ ยิน ออก ไป
เสียง ที่ เป็น อันตราย องค์ การ อนามัย โลก กำหนด ว่า เสียง ที่ เป็น อันตราย หมายถึง เสียง ที่ ดัง เกิน 85 เด ซิ เบล เอ ที่ ทุก ความ ถี่ ส่วน ใหญ่ พบว่า โรง งาน อุตสาหกรรม มี ระดับ เสียง ที่ ดัง เกิน มาก กว่า 85 เดซิเบลเอ เป็น จำนวน มาก ซึ่ง สามารถ ก่อ ให้ เกิด อันตราย ต่อ สุขภาพ ทาง กาย และ จิตใจ
เสียงรบกวน หมายถึง ระดับ เสียง ที่ ผู้ ฟัง ไม่ ต้อง การ จะ ได้ ยิน เพราะ สามารถ กระทบ ต่อ อารมณ์ ความ รู้สึก ได้ แม้ จะ ไม่ เกิน เกณฑ์ ที่ เป็น อันตราย แต่ ก็ เป็น เสียง รบกวน ที่ มี ผล ต่อ ผู้ฟัง ได้ การ ใช้ ความ รู้สึก ทำ วัด ได้ ยาก กว่า เป็น เสียง รบกวน หรือ ไม่ เช่น เสียง ดนตรี ที่ ดัง มาก ใน สถาน ที่ เต้น รำ ไม่ ทำ ให้ ผู้ ที่ เข้า ไป เที่ยว รู้สึก ว่า ถูก รบกวน แต่ ใน สถาน ที่ ต้อง การ ความ สงบ เช่น ห้อง สมุด เสียง พูด คุย ตาม ปกติ ที่ มี ความ ดัง ประมาณ 60 เดซิเบลเอ ก็ ถือ ว่า เป็น เสียง รบกวน ได้
|
|
|
ผลเสียของเสียงที่มีต่อสภาพร่างกายและจิตใจ
1. ทำให้เกิดความรำคาญ รู้สึกหงุดหงิดไม่สบายใจ เกิดความเคลียดทางประสาท
2. รบกวนต่อการพักผ่อนนอนหลับ และการติดต่อสื่อสาร
3. ทำให้ขาดสมาธิ ประสิทธิภาพการทำงานลดลง และถ้าเสียงดังมากอาจทำให้ทำงานผิดพลาด หรือเชื่องช้าจนเกิดอุบัติเหตุได้
4. มีผลต่อสุขภาพร่างกาย ความเครียด อาจก่อให้เกิดอาการป่วยทางกาย เช่น โรคกระเพาะ โรคความดันสูง
5. การได้รับฟังเสียงดังเกินกว่ากำหนดเป็นระยะนานเกินไปอาจทำให้สูญเสียการได้ยิน ซึ่งอาจเป็นอย่างชั่วคราวหรือถาวรก็ได้
2. รบกวนต่อการพักผ่อนนอนหลับ และการติดต่อสื่อสาร
3. ทำให้ขาดสมาธิ ประสิทธิภาพการทำงานลดลง และถ้าเสียงดังมากอาจทำให้ทำงานผิดพลาด หรือเชื่องช้าจนเกิดอุบัติเหตุได้
4. มีผลต่อสุขภาพร่างกาย ความเครียด อาจก่อให้เกิดอาการป่วยทางกาย เช่น โรคกระเพาะ โรคความดันสูง
5. การได้รับฟังเสียงดังเกินกว่ากำหนดเป็นระยะนานเกินไปอาจทำให้สูญเสียการได้ยิน ซึ่งอาจเป็นอย่างชั่วคราวหรือถาวรก็ได้
เกณฑ์กำหนดของระดับเสียงที่เป็นอันตราย
ก. กรมแรงงาน กระทรวงมหาดไทยได้กำหนดมาตรฐานของระดับเสียงในสถานประกอบการต่าง ๆ ไว้ดังนี้คือ
1. ได้รับเสียงไม่เกินวันละ 7 ชั่วโมง ต้องมีระดับเสียงติดต่อกันไม่เกิน 91 เดซิเบล(เอ)
2. ได้รับเสียงวันละ 7-8 ชั่วโมง ต้องมีระดับเสียง ติดต่อกันไม่เกิน 90 เดซิเบล(เอ)
3. ได้รับเสียงเกินวันละ 8 ชั่วโมง ต้องมีระดับเสียง ติดต่อกันไม่เกิน 80 เดซิเบล(เอ)
4. นายจ้างให้ลูกจ้างทำงานในที่ ๆ มีระดับเสียงเกิน 140 เดซิเบล(เอ) ไม่ได้
ข. องค์การอนามัยโลกได้กำหนดว่าระดับเสียงที่ดังเกินกว่า 85 เดซิเบล(เอ) ถือว่าเป็นอันตรายต่อมนุษย์
ก. กรมแรงงาน กระทรวงมหาดไทยได้กำหนดมาตรฐานของระดับเสียงในสถานประกอบการต่าง ๆ ไว้ดังนี้คือ
1. ได้รับเสียงไม่เกินวันละ 7 ชั่วโมง ต้องมีระดับเสียงติดต่อกันไม่เกิน 91 เดซิเบล(เอ)
2. ได้รับเสียงวันละ 7-8 ชั่วโมง ต้องมีระดับเสียง ติดต่อกันไม่เกิน 90 เดซิเบล(เอ)
3. ได้รับเสียงเกินวันละ 8 ชั่วโมง ต้องมีระดับเสียง ติดต่อกันไม่เกิน 80 เดซิเบล(เอ)
4. นายจ้างให้ลูกจ้างทำงานในที่ ๆ มีระดับเสียงเกิน 140 เดซิเบล(เอ) ไม่ได้
ข. องค์การอนามัยโลกได้กำหนดว่าระดับเสียงที่ดังเกินกว่า 85 เดซิเบล(เอ) ถือว่าเป็นอันตรายต่อมนุษย์
ที่มา : รวบรวมจากฝ่ายสุขาภิบาลทั่วไป กองอนามัยสิ่งแวดล้อม สำนักอนามัย กรุงเทพมหานคร
https://web.ku.ac.th/schoolnet/snet6/envi3/soundpol/soundpol.htm
https://th.wikipedia.org/wiki/เดซิเบล
https://th.wikipedia.org/wiki/เดซิเบล
Showing 1–12 of 50 results
-
฿14,900.00฿10,900.00 -
฿2,000.00฿1,800.00 -
฿5,000.00฿4,200.00 -
฿11,000.00฿9,000.00 -
฿7,400.00
-
฿10,000.00฿9,000.00 -
฿3,800.00
-
฿6,000.00
-
฿10,000.00฿9,000.00 -
฿4,500.00฿4,000.00 -
฿5,800.00
-
฿3,000.00฿2,500.00